บทความ

วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง (Case Method)

กรณีตัวอย่าง วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง   (Case Method)             ปัจจุบันการนำเสนอกรณีตัวอย่างให้ผู้เรียนได้เกิดความคิด ได้ตอบคำถาม และอภิปรายร่วมกัน จัดเป็นวิธีการสอนได้ที่ผู้สอนนำมาใช้มากพอสมควร เพราะเป็นวิธีการที่ทำให้ผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ได้เต็มที่ เพราะคำตอบที่ได้จะไม่ใช่คำตอบที่ถูกต้องที่สุด ผู้เรียนจึงมีโอกาสใช้ความคิดในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา ในเรื่องต่างๆ ที่ผู้สอนได้กำหนด ได้มากยิ่งขึ้น             เพื่อให้ความเข้าใจการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่างให้มากขึ้น ในบทนี้กล่าวถึงรายละเอียดของวิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง ซึ่งประกอบไปด้วย ความหมาย วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ ขั้นตอนที่สำคัญในการสอน เทคนิคข้อเสนอแนะของการสอน และข้อดี ข้อจำกัดของการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง พร้อมด้วยสรุปท้ายบท   กิจกรรมและคำถามของการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่างด้วย ความหมาย ทิศนา   แขมมณี (2550  :  362) อธิบายว่า วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง คือกระบวนการที่ผ...

นวัตกรรมและสื่อการเรียนการสอนคณิตศาสตร์

นวัตกรรมและสื่อการเรียนการสอนคณิตศาสตร์            นิภา แย้มวจี  (2552)  ได้กล่าวถึงสื่อการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ไว้ดังนี้    สื่อการเรียนการสอน   เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอนในแต่ละคาบ คุณค่าและประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน           1.  ช่วยให้ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการตอบสนองตามที่คาดหวัง จะให้เกิดในตัวนักเรียน           2.  ช่วยให้ครูจัดประสบการณ์ให้ นักเรียนได้หลายรูปแบบเช่น ใช้เทปเสียง วีดีทัศน์ การสาธิต หรือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นต้น           3.  ช่วยครูในการเพิ่มพูนประสบการณ์ ความรู้ให้แก่นักเรียน เช่น ทำรายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ สไลด์ มาให้เด็กชม           4.  ช่วยครูจำลองของแทนของจริงที่ไม่สามารถนำมาให้ดูได้ เช่นการเดินทางของดวงจันทร์หมุนรอบโลก ลูกโลก  ...

ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative or Collaborative Learning)

ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Theory of Cooperative or Collaborative Learning) สยุมพร จุ๋ม ศรีมุงคุณ   ( https://www.gotoknow.org/posts/341272 )  เขียนเกี่ยวกับทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือไว้ว่า ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Theory of Cooperative or Collaborative Learning)  แนวคิดของทฤษฏีนี้ คือ การเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อยโดยสมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถแตกต่างกันประมาณ  3–6  คน ช่วยกันเรียนรู้เพื่อไปสู่เป้าหมายของกลุ่ม โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันในลักษณะแข่งขันกัน ต่างคนต่างเรียนและร่วมมือกันหรือช่วยกันในการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จะเน้นให้ผู้เรียนช่วยกันในการเรียนรู้ โดยมีกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนมีการพึ่งพาอาศัยกันในการเรียนรู้ มีการปรึกษาหารือกันอย่างใกล้ชิด มีการสัมพันธ์กัน มีการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม มีการวิเคราะห์กระบวนการของกลุ่ม    และมีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานร่วมกัน ส่วนการประเมินผลการเรียนรู้ควรมีการประเมินทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพ โดยวิธีการที่ หลากหลายและควรให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมิน    และครูควรจัดให้ผู้...